บทความที่ได้รับความนิยม

วันพฤหัสบดีที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2557

บทที่ 2 การพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมต่อ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนากศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

บทที่ 2
สภำพปัญหำของหลักสูตรต่ำงๆ ในประเทศไทย
การศึกษา เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศูนย์รวมน้าใจ ในครั้งนี้นั้น ผู้จัดทารายงาน จะนาเสนอเกี่ยวกับสภาพปัญหาต่างๆ ของหลักสูตรแต่ละฉบับในประเทศไทย โดยศึกษาจากเอกสารทางวิชาการต่างๆ เพื่อนามาสู่การพัฒนาเป็นหลักสูตรที่เหมาะสมต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศูนย์รวมน้าใจ ต่อไปในอนาคต ซึ่งสภาพปัญหาต่างๆ ผู้จัดทารายงาน ได้สรุปประเด็นปัญหาที่สาคัญ แบ่งออกเป็น 4 ปัญหา คือ
1. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากนโยบาย
2. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากผู้ปฏิบัติงาน
3. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากระบบการศึกษาของไทย
4. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้หลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551
ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวทั้ง 4 ประการข้างต้น มีรายละเอียดต่างๆ ที่สาคัญ ดังต่อไปนี้
1. ปัญหำที่เกิดขึ้นจำกนโยบำย
ในการศึกษาของอาภรณ์ รัตน์มณี (2553)9 พบว่า จากผลการติดตามที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปการศึกษาในระยะ 6 ปี เป็นต้นมา โดยเริ่มตั้งแต่ปีพ.ศ. 2546 ถึง พ.ศ. 2552 จะพบว่า ภายหลังที่ประเทศไทยมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 พบประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการประเมินจากคุณภาพภายนอกสถานศึกษา 17,562 แห่งทั่วประเทศ คิดเป็นร้อยละ 49.1 ของโรงเรียนทั้งหมด คือ การจัดการเรียนการสอนของครูในปัจจุบัน ยังยึดการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และการสอนแบบดังกล่าว จะมีคุณภาพอยู่ในระดับร้อยละ 39.2 และการสอนดังกล่าวจะเป็นการจัดกิจกรรมที่กระตุ้นผู้เรียนได้รู้จักกระบวนการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา และการตัดสินใจ มีคุณภาพอยู่ระดับ ร้อยละ 13.5 และครูสามารถนาผลการประเมินมาปรับการเรียนและเปลี่ยนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพเพียงร้อยละ 21.6 ของสถานศึกษาทั้งหมด แต่ยังพบกับปัญหาที่สาคัญในเชิงนโยบาย คือ
1. ปัญหาเชิงนโยบายจากการที่รัฐบาลในหลายยุค หลายสมัย ยังไม่ให้ความสาคัญต่อการบริหารจัดการศึกษาอย่างครบถ้วน และมีแนวทางการกาหนดนโยบายทางการบริหารการศึกษาที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมกับสภาพของสังคมไทยในปัจจุบัน รวมถึงปัญหาที่ผู้เข้ามาเป็นรัฐมนตรีในกระทรว'นั้น ยังเป็นผู้ที่ไม่มีความรู้ มีความสามารถเท่าที่ควร และไม่เคยผ่านงานในการบริหารการศึกษา หรือการบริหารหลักสูตรต่างๆ หรือแม้กระทั่ง ไม่เคยผ่านการสอนจริง เป็นต้น
9 อาภรณ์ รัตน์มณี. 2553. ''ทาไมระบบการศึกษาไทยจึงพัฒนาช้า ''. [online] http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=878&articlegroup_id=203.
17
2. ปัญหานโยบายที่ทาให้ผู้เรียนไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ โดยจากการศึกษาของปิตินันท์ สุทธิสาร (2557)10 ที่ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับปัญหานโยบายของหลักสูตรในปัจจุบัน ที่ไม่สามารถทาให้ผู้เรียนอ่านออกได้ เป็นผลมาจากการที่ในการจัดการศึกษาในกลุ่มจังหวัดชนบทนั้น
2.1 นโยบายของครูในระดับประถมศึกษาปัจจุบัน จะมีการสอนจานวน 8 กลุ่มสาระวิชา และครูในชนบทจะมีจานวนจากัด ซึ่งครู 1 คน จะดูแลนักเรียนเป็นจานวนมาก ประกอบกับครูชนบทบางคน จะไม่ถนัดในสาขาวิชาบางอย่าง จึงทาให้ไม่สามารถดาเนินการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 นโยบายของตาราการสอนที่กระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบันได้บังคับใช้นั้น บางโรงเรียนไม่สามารถนามาใช้ เนื่องจากเนื้อหาในตาราการสอนภาษาไทยที่ใช้อยู่ในตาราที่บังคับนั้น เป็นการสอนที่ผิด จึงทาให้ครูบางท่าน ไม่นาตาราดังกล่าวเข้ามาใช้สอน
2.3 นโยบายของปัญหาการประเมินการสอนของครูชนบทในรายงานต่างๆ ระบุว่า ครูชนบทไม่มีศักยภาพในการสอนเท่าที่ควร เพราะครูชนบทไม่สามารถสอนผู้เรียนให้อ่านออกเขียนได้นั้น เป็นผลมาจากการศักยภาพของผู้เรียน ซึ่งตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ก็ได้มีการระบุว่า ในการจัดการศึกษาจะต้องให้คานึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน แต่การประเมินตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ กลับประเมินในภาพรวม ซึ่งการจัดการเรียนการสอนแตกต่างกัน จึงเป็นเหตุผลว่า ทาไมผู้เรียนในชนบทถึงไม่ผ่านเกณฑ์ต่างๆ
2.4 นโยบายของการที่มีจานวนครูที่อยู่ในชนบท แตกต่างกับครูที่อยู่ในเมือง หรือเมืองใหญ่ๆ ซึ่งครูชนบทหนึ่งคนจะดูแลนักเรียนเป็นจานวนมาก และครูคนเดียว จะสอนนักเรียนในทุกสาขาวิชา ซึ่งแตกต่างกับครูในเมือง ที่มีจานวนมาก มีเงิน มีวัสดุ อุปกรณ์การสอนที่พร้อม และประเด็นนี้ ทางรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการก็ไม่สนใจ และไม่แก้ไขปัญหาดังกล่าว
2.5 นโยบายของการกาหนดหลักสูตรต่างๆ มาจากการที่กลุ่มรองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ หรือผู้จบการศึกษาปริญญาเอก ได้จัดทาขึ้นตามความคิดของตนเอง แต่ขาดการบูรณาการหรือการศึกษาตามสภาพที่แท้จริงของชนบท เช่น ในชนบทควรจะต้องมีการสอนแบบให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้ หรือสอนการงานอาชีพ เพื่อให้นักเรียนสามารถนาไปประกอบอาชีพต่างๆ ช่วยบิดา มารดาลดภาระค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็นต้น ซึ่งผู้เรียนในชนบทหลายคนไม่มีเงินซื้ออาหาร จึงต้องทางานแลกเงิน เพราะฐานะทางครอบครัวที่ค่อนข้างยากจน เป็นต้น แตกต่างกับผู้เรียนในเมือง ที่บิดา มารดามีความพร้อมในหลายๆ ด้าน
2.6 นโยบายของปัญหาที่แท้จริงของหลักสูตร คือ หลักสูตรในปัจจุบันไม่ได้เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้อ่านออกเขียนได้ เพราะสนใจกับผลลัพธ์ในการศึกษามาก สนใจตัวชี้วัดมากจนเกินไป จึงทาให้ผู้บริหารโรงเรียนในชนบทหลายท่าน หันกลับไปใช้โครงสร้างหลักสูตรเดิม ที่เน้นเรื่องของการสอนอ่าน เน้นการคิดเลข และค่อยมาพัฒนาผู้เรียนในสาขาอื่นๆ ตามมาในภายหลัง
2.7 นโยบายของการใช้ตาราเรียนภาษาไทยในปัจจุบันที่ไม่มีประสิทธิภาพ เช่น การเรียนการสอนประถมศึกษาปีที่ 1 ในอดีต ได้มีการเรียนคาว่า มานี มานะ จะปะ กะทะ มะระ อะไร มันถูก
10 ปิตินันท์ สุทธิสาร. 2557. ครูบ้านนอกชี้ นโยบายอัด 8 สาระวิชา-โครงสร้างหลักสูตร ทาเด็กอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้. สานักข่าว ทีนิวส์ วันที่ 1 สิงหาคม 2557.
18
เรียงให้ผู้เรียนเข้าใจการประสมคาจากง่ายไปยาก จนถึงประถมศึกษาปีที่ 4 จึงมีคาว่า เพชร เห็ด เสริมเข้ามา แต่ตาราสมัยใหม่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ใช้คาว่า "รถไฟ" ซึ่งเป็นคาที่มีการใช้สระลดรูป และสะกดไม่ตรงตามมาตรา เป็นต้น
2.8 นโยบายของผู้บริหารระดับสูง เช่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายกรัฐมนตรี และกลุ่มที่เรียกตัวเองว่าศาสตราจารย์ หรือรองศาสตราจารย์ ยังขาดการแก้ไขปัญหาที่แท้จริง และส่งผลให้การจัดการศึกษาผิดพลาด เพราะกลุ่มเหล่านี้ จะมองแค่มุมสูงลงมา แต่ไม่ได้มองสภาพปัญหาที่แท้จริง เป็นต้น
3. นโยบายของปัญหาการจัดทานโยบายการศึกษาของประเทศไทย ที่มาจากการศึกษากลยุทธ์ต่างๆ ของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งจากการศึกษาของภัทรษมน รัตนางกูร (2557)11 พบว่า
3.1 จุดอ่อนของนโยบายการศึกษาในประเทศไทย ที่ขาดการพัฒนา คือ (1) ปัญหาครูอาจารย์ ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาของไทยส่วนใหญ่ ยังขาดความเข้าใจว่า การปฏิรูปการศึกษาที่แท้จริงนั้นหมายถึงการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่อย่างถึงราก ถึงโคน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นและแตกต่างไปจากเดิม เช่น การเปลี่ยนแปลงวิธีคิด วิธีทางาน ของผู้บริหารการศึกษาและครูอาจารย์ เปลี่ยนแปลงหลักสูตร (2) ปัญหาการขาดภาวะผู้นาที่ตระหนักถึงรากเหง้าและความสาคัญของปัญหาการปฏิรูป การศึกษา มองปัญหาเรื่องการศึกษาอย่างเชื่อมโยงกับเรื่องอื่นในสังคมแบบเป็นระบบองค์รวม (3) ปัญหาระบบคัดเลือก การบริหารและการให้ความดีความชอบครูอาจารย์ ผู้บริหารและ บุคลากรทางการศึกษา อยู่ภายใต้ระบบราชการแบบรวมศูนย์กลายเป็นอุปสรรคขัดขวางการปฏิรูปทางการศึกษา (4) ปัญหาด้านประสิทธิภาพการใช้งบประมาณการศึกษาในแง่คุณภาพของผู้จบการศึกษา ทุกระดับต่ากว่าหลายประเทศ ทั้งๆที่การจัดสรรงบประมาณการศึกษาของรัฐบาล คิดเป็นสัดส่วนต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ หรืองบประมาณประจาปีทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์สูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ (5) ปัญหาระบบการประเมินผลและการสอบแข่งขันเพื่อรับการคัดเลือกเรียนต่อใน มหาวิทยาลัย รวมทั้งการศึกษาระดับอื่นๆด้วย ยังเป็นการสอบแบบปรนัย เพื่อวัดความสามารถในการจดจาข้อมูล ทาให้ขัดแย้งกับแนวคิดปฏิรูปการเรียนรู้แบบใหม่ที่เสนอว่า ควรให้ผู้เรียนได้หัด คิดวิเคราะห์เป็น
3.2 อุปสรรคของภารกิจหลักของสถานศึกษามีมากถึง 4 ด้าน คือ ด้านการเรียนการสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการทางวิชาการ และด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ทาให้การดาเนินงานไม่สมบูรณ์ครบทุกด้านเนื่องจากไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือรัฐบาล รวมถึงสถาบันการศึกษาจาเป็นต้องรับนักศึกษาจานวนมาก และรับนักศึกษาจากท้องถิ่นทาให้เป็นเรื่องยากที่จะดาเนินการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพเพราะนโยบายรัฐบาลโดยรวม และสภาพเศรษฐกิจที่ผันผวนส่งผลให้นักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาในบางสาขาหางานได้ยากขึ้น
11 ภัทรษมน รัตนางกูร. 2557. วิเคราะห์ปัญหาของระบบการศึกษาไทย กับการแก้ปัญหาของรัฐบาลประเด็นนโยบายเรียนฟรี 15 ปี. [online] http://phatrasamon.blogspot.com/2009/10/15.html.
19
2. ปัญหำที่เกิดขึ้นจำกผู้ปฏิบัติงำน
1. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากผู้ปฏิบัติงาน จะมองในมุมของครู หรือผู้ให้ความรู้ ประสิทธิประสาทวิชา เป็นผู้ถ่ายทอดให้กับนักเรียน ซึ่งสาหรับประเทศไทยจะเห็นได้ว่าในอดีตนั้น อาชีพครูเป็นอาชีพที่มีความสาคัญ มีเกียรติ แตกต่างจากปัจจุบันเป็นมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเห็นได้จากการสอบเข้ามหาวิทยาลัยคณะที่จบออกมาเป็นครูนั้น นักเรียนจะให้ความสาคัญน้อย เลือกเป็นอันดับท้ายๆ หรือสอบเข้าอะไรไม่ได้จึงต้องไปเรียนครู และจากการที่รับฟังคนในสังคมกล่าวว่า ครูได้เงินเดือนน้อย ไม่มีเกียรติ ทาให้ผู้ที่ต้องการเข้ามาเพื่อเป็นครูจริงๆ มีน้อยลงทุกวัน เมื่อไม่มีจิตวิญญาณในการเป็นครูแล้ว การจะสอนให้ได้ประสิทธิภาพ ก็จะลดลง และส่งผลทาให้เด็กมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพครูลดลงเช่นกัน ประกอบกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน ทาให้ครูส่วนหนึ่งสนใจที่จะหารายได้เลี้ยงครอบครัวมากกว่าการสอนหนังสือ เช่น การสอนพิเศษ การทาอาชีพเสริมมากกว่า ไม่เพียงเท่านั้น ครูที่เป็นครูด้วยจิตวิญญาณที่เหลืออยู่น้อยแล้ว ยังมีเรื่องของการประเมินผล ความเจริญก้าวหน้าในอาชีพโดยเฉพาะการเลื่อนวิทยฐานะไม่ได้วัดจากความสาเร็จของนักเรียน แต่วัดจากผลงานทางวิชาการ ดังนั้น ครูบางส่วนจึงสนใจที่จะทาผลงานทางวิชาการมากกว่าการสอนเพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้จริง ๆ ครูจึงเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้การศึกษาไทยพัฒนาได้ช้า12
2. ปัญหาทางด้านหลักสูตรต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อครูผู้สอน ซึ่งปัญหาการพัฒนาหลักสูตรไทยด้านครูผู้สอน จะพบว่า13
2.1 ปัญหาการขาดครูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
2.2 ปัญหาการไม่ยอมรับและไม่เปลี่ยนแปลงบทบาทการสอนของครูให้เข้ากับหลักสูตรต่างๆ
2.3 ปัญหาการจัดอบรมครูที่ขาดประสิทธิภาพ และไม่สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนจริง
2.4 ปัญหาศูนย์การพัฒนาหลักสูตร ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน และทาให้ฝึกอบรมกับครูได้อย่างไม่ถูกต้อง ไม่ตรงเป้าหมายที่กาหนดไว้
2.4 ปัญหาการขาดการประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงานต่างๆ
2.5 ผู้บริหารต่างๆ ไม่สนใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร มุ่งแต่ทาผลงานเพื่อให้ได้รับการเลื่อนตาแหน่ง
2.7 ปัญหาการขาดแคลนเอกสารทางการสอนประเภทต่างๆ เป็นต้น
3. ปัญหำที่เกิดขึ้นจำกระบบกำรศึกษำของไทย
3.1 ปัญหาหลักสูตรในการศึกษาปฐมวัย ได้แก่ (1) การเรียนการสอนจะเน้นสอนเนื้อหาวิชาตามหลักสูตรมากกว่าการพัฒนาการเด็ก ทาให้เด็กเกิดความเครียด (2) การไม่ได้ใช้ประโยชน์จากหลักสูตรอย่างเต็มที่ (3) แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรยังขาดความเป็นเอกภาพ
12 อาภรณ์ รัตน์มณี. 2553. _________________________.
13 พิชญ์สุกานต์ จรพุทธานนท์. 2557. สาระที่ 7 ปัญหาและแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตร. [online] http://www.gotoknow.org/posts/543276
20
3.2 ปัญหาหลักสูตรในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ (1) การจัดโครงสร้างหลักสูตรใหม่ทาให้ครูต้องสอนเนื้อหาหนักมากขึ้น และผู้เรียนต้องเรียนหนักมากขึ้น (2) สถานศึกษาจัดทาเองไม่มีความชัดเจนกรมวิชาการและกรมเจ้าสังกัดมีจุดเน้นที่ไม่ตรงกัน (3) มีเสียงสะท้อนว่านโยบายการจัดทาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 ที่ให้โรงเรียนจัดทาเองไม่มีความชัดเจน (4) ทาให้ครูเกิดความสับสน
3.3 ปัญหาหลักสูตรการอาชีวศึกษา พบว่า ผู้เข้าเรียนในการอาชีวศึกษาไม่มีคุณภาพเท่าที่ควรหลักสูตรก่อนถึงระดับ ปวช. คือระดับมัธยมต้น หรือการศึกษาผู้ใหญ่เป็นการปูพื้นฐานความรู้ระดับต่า เช่น อ่าน สะกดคาไม่ได้ ขาดความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เมื่อมาเรียนต่อในระดับอาชีวศึกษาจึงเกิดปัญหา แม้ครูจะเตรียมการสอนดีอย่างไร ผู้เรียนไม่สามารถต่อยอดความรู้ได้ เพราะพื้นฐานความรู้ไม่ดีเพียงพอ
3.4 ปัญหาการจัดหลักสูตรสาหรับผู้ด้อยโอกาส พบว่า หลักสูตรที่จัดทาขึ้นมานั้น ยังไม่เหมาะสม เพราะหลักสูตรยังยึดวิธีการแบบเก่าๆไม่สนองความต้องการและความสนใจและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้ด้อยโอกาสในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย เพราะขาดการกระจายโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ขาดคุณภาพการศึกษา ขาดงบประมาณและการลงทุนทางการศึกษา ขาดคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา ขาดแนวโน้มผู้เข้าเรียน ขาดแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรประถมศึกษา
3.5 ปัญหาของระบบการจัดการศึกษาไทย พบว่า14
3.5.1 คุณภาพการศึกษาพื้นฐานตกต่า ซึ่งในการจัดการทดสอบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-Net) ทุกปีนั้น ผลที่ออกมามักจะเป็นไปในทิศทางเดียวกันในทุกปี คือ เด็กไทยมีความรู้ต่ากว่ามาตรฐานอยู่เสมอ หรือแม้แต่การศึกษาขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development, OECD) ที่รู้กันในชื่อของ PISA (Program for International Students Assessment) พบว่านักเรียนไทยที่จัดได้ว่ามีความรู้วิทยาศาสตร์อยู่ในระดับสูงมีเพียง 1% เท่านั้นเอง ทั้งๆที่ใช้เวลาในการเรียนการสอนมากกว่า 8 ชม. ต่อวัน ซึ่ง PISA ยังพบว่า เด็กไทยร้อยละ 74 อ่านภาษาไทยไม่รู้เรื่อง คือ มีตั้งแต่อ่านไม่ออก อ่านแล้วตีความไม่ได้ คิดวิเคราะห์ความหมายไม่ถูก หรือแม้แต่ใช้ภาษาให้เป็นประโยชน์ในการศึกษาวิชาอื่นๆ แต่ผู้ปกครองหลายท่านกลับมองสภาพเหล่านี้ด้วยความเคยชิน และยังคงเชื่อว่าลูกหลานของจะต้องได้รับการพัฒนาโดยการจัดการศึกษาแบบเดิมอย่างทุกวันนี้
3.5.2 ปัญหาของครู ในประเทศไทย และสังคมไทยกลับเห็นว่าในปัจจุบันวิชาชีพครูนี้ ไม่เป็นที่นิยมเท่ากับการประกอบอาชีพหมอ หรือวิศวกรตามที่สังคมได้คาดหวัง ประกอบกับประเทศไทยมีการผลิตครูมากถึงปีละประมาณ 12,000 คน ในขณะที่อัตราการบรรจุครูใหม่ในแต่ละปีมีเพียง 3-4 พันคนเท่านั้น ซึ่งหมายความว่าในแต่ละปี บัณฑิตครูที่จบออกมาใหม่จะมีการตกงานเบื้องต้นเกือบหนึ่งหมื่นคน แต่ในภาพรวมประเทศไทยยังนับว่าขาดแคลนครู โดยเฉพาะครูในสาขาวิชาสาคัญๆ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา เป็นต้น ยังพบอีกว่า ไม่มีความชัดเจนทางนโยบายในการที่จะ
14 eduzones.com. 2557. 5 ข้อปัญหาของการจัดการศึกษาในระบบไทย. [online] http://blog.eduzones.com/training/129954.
21
สนับสนุนให้ผู้สาเร็จการศึกษาในสาขาวิชาที่ตรงกับเนื้อหาสาระ ในทางตรงกันข้ามยังกลับพบมาตรการในเชิงกีดกันอีกด้วย เช่น การกาหนดให้ผู้ที่จะรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูได้ต้องไปเรียนเพิ่มเติมอีกอย่างน้อยหนึ่งปี เป็นต้น รวมถึงปัญหาหนี้สินครู ที่พบว่า อัตราค่าใช้จ่ายของครู น้อยกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว 3-4 เท่า ซึ่งหมายความว่า บุคคลจะได้รับค่าจ้างเมื่อแรกเข้าทางานสูงมากเพียงพอที่จะยังชีพได้ เมื่อครูไม่ได้รับค่าตอบแทนที่จะสามารถดารงชีพได้อย่างปกติได้ และไม่ต้องไปหางานพิเศษ หรือรายได้พิเศษทา
3.5.3 การขาดวิจัยและพัฒนา ขาดนวัตกรรม และปัญหาความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมในปีพ.ศ. 2548 อาจารย์อุดมศึกษาไทยรวมประมาณ 50,000 คน ตีพิมพ์ผลงานวิจัยเพียง ประมาณ 2,000 ฉบับ ในจานวนนี้ร้อยละ 90 เกิดมาจากมหาวิทยาลัยเพียง 8 แห่ง ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยที่เหลืออีกร้อยกว่ามหาวิทยาลัยตีพิมพ์เพียงร้อยละ 10 เท่านั้นเอง แต่ถ้าดูในรายละเอียด ยังพบว่าแม้ในมหาวิทยาลัยที่ตีพิมพ์มากที่สุดรวม 8 แห่งนี้ เมื่อเฉลี่ยตามจานวนอาจารย์แล้ว มีการตีพิมพ์เพียงคนละ 0.12 บทความเท่านั้น ถ้าเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ อาจารย์ของเขาจะตีพิมพ์คนละไม่ต่ากว่า 2 ฉบับต่อปี มากกว่าที่ดีที่สุดของถึง 20 เท่า และในภาพรวมการตีพิมพ์ของอาจารย์ในสหรัฐอเมริกา ประมาณปีละ 200,000 ฉบับ ญี่ปุ่น 50,000 ฉบับ สหราชอาณาจักร 40,000 จีน 12,000 อินเดีย เกาหลี สิงคโปร์ ประมาณ 10,000 ฉบับ เป็นต้น ข้อมูลเช่นนี้ชี้ชัดเจนว่ามหาวิทยาลัยของประเทศไทยอ่อนด้อยในด้านการวิจัย ซึ่งเป็นเรื่องที่สาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ หากไม่มีการวิจัย ประเทศไทยก็จะขาดทุนทางปัญญา ในโลกยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ ส่งผลต่อความเข้มแข็งของระบบเศรษฐกิจ เมื่อประเทศขาดงานวิจัย จึงเสียเปรียบทางเศรษฐกิจอย่างเลี่ยงไม่ได้ ทั้งหมดนี้ เกิดมาจากที่ระบบการศึกษาที่มีความอ่อนแอด้านการวิจัย เป็นต้น
4. ปัญหำที่เกิดขึ้นจำกกำรใช้หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551
ในการศึกษาของรุ่งนภา นุตรวงศ์ และคณะ (2553)15 ที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับผลการวิจัยนาร่องการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พบประเด็นปัญหาที่สาคัญของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คือ
4.1 ปัญหากระบวนการจัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น/ หลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งจากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นและการสัมภาษณ์พบว่ามีกลุ่มตัวอย่าง จานวนถึงร้อยละ 86.66 ที่ระบุว่ากระบวนการจัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นได้ดาเนินการครอบคลุมครบทุกขั้นตอน ตั้งแต่การแต่งตั้งคณะกรรมการ การศึกษาเอกสารหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้อมูลสารสนเทศของท้องถิ่น ยกร่างเอกสารกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ตรวจสอบคุณภาพ และเสนอคณะกรรมการเพื่ออนุมัติการใช้ ในขณะที่กระบวนการหลักสูตรสถานศึกษาพบว่าสถานศึกษาเกือบครึ่งหนึ่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 47.69 มีกระบวนการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาไม่ครบตามขั้นตอน และขั้นตอนที่สถานศึกษาส่วนใหญ่ไม่ได้ดาเนินการคือการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน และการศึกษากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
15 รุ่งนภา นุตรวงศ์ และคณะ. 2553. สรุปผลการวิจัยนาร่องการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กระทรวงศึกษาธิการ.
22
4.2 ปัญหาการมีส่วนร่วมในเรื่องของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรนั้น พบว่า ความร่วมมือในการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และหลักสูตรสถานศึกษาต่างๆ ของประเทศไทย มีอยู่ในระดับมาก และกลุ่มตัวอย่างประชากรส่วนใหญ่ทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษามีความพึงพอใจในความร่วมมือของฝ่ายต่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตรเป็นไปตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีการกระจายอานาจและส่งเสริมให้ภาคส่วนต่างๆ ได้มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
4.3 ปัญหาการบรรจุสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นในหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งผลจากการสารวจความคิดเห็นของศึกษานิเทศก์ พบว่า ศึกษานิเทศก์ร้อยละ 98.09 มีความคิดเห็นด้วยว่า การที่เขตพื้นที่การศึกษาจัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จะเป็นประโยชน์และช่วยให้สถานศึกษาสามารถจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาได้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ในการนาร่องการใช้หลักสูตรครั้งนี้ พบว่า มีเขตพื้นที่การศึกษาเพียงร้อยละ 67.65 ที่จัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นเสร็จและจัดส่งให้โรงเรียนแล้ว และผลจากการสัมภาษณ์ศึกษานิเทศก์ส่วนใหญ่สะท้อนให้เห็นถึงความไม่มั่นใจในคุณภาพของกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นที่จัดทาขึ้น เพราะยังขาดความเข้าใจที่ชัดเจนในเรื่องต่างๆ รวมถึงระยะเวลาในการจัดทามีจากัด ในส่วนของการนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสู่การเรียนการสอนนั้น พบว่า ส่วนใหญ่ได้บรรจุสอดแทรกในรายวิชาต่างๆ มีสถานศึกษาที่จัดสอนสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นเป็นรายวิชาเพิ่มเติมร้อยละ 27.69 ร้อยละ 16.41 จัดไว้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และร้อยละ 6.15 จัดในลักษณะโครงงานบูรณาการ
4.4 ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา: ซึ่งผลการวิจัยที่ได้จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของบุคลากรระดับสถานศึกษา ที่มีประสบการณ์ตรงในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และข้อมูลจากความคิดเห็นของศึกษานิเทศก์ที่ติดตามดูแลการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา ให้ผลที่สอดคล้องสัมพันธ์กันถึงปัญหาอุปสรรคสาคัญในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ การขาดความรู้ความเข้าใจของบุคลากร ซึ่งบุคลากรทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับสถานศึกษายังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรใหม่ที่เพียงพอที่จะทาให้การขับเคลื่อนการใช้หลักสูตรจากส่วนกลางสู่ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้น ยังพบปัญหาครูมีภาระงานอื่นๆ มากมาย นอกเหนือจากการสอน ทาให้ครูผู้สอนไม่สามารถทุ่มเทในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ พบว่า ระยะเวลาในการดาเนินงานขับเคลื่อนการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตั้งแต่การอบรมสร้างความเข้าใจจนกระทั่งการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษามีระยะเวลาที่สั้นมาก ส่งผลให้ขาดเวลาที่เพียงพอในการจัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และหลักสูตรสถานศึกษา ระยะเวลาที่เร่งรัดกระชั้นชิดเป็นส่วนสาคัญอีกประการหนึ่งที่ทาให้โรงเรียนต้นแบบถึงร้อยละ 56.41 จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาไม่เสร็จทันใช้เมื่อเปิดภาคเรียน ประกอบกับการจัดทาหน่วยการเรียนรู้ พบว่า โรงเรียนต้นแบบที่นาร่องการใช้หลักสูตรเพียงร้อยละ 38.97 จัดทาหน่วยการเรียนรู้เพื่อใช้ในการเรียนการสอนเสร็จครบ ทุกหน่วย โรงเรียนที่เหลือมากกว่าครึ่งหนึ่งยังจัดทาหน่วยการเรียนรู้ไม่เสร็จ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ระบุว่าสาเหตุสาคัญที่สุดที่ทาให้การจัดทาหน่วยการเรียนรู้เสร็จไม่ทันใช้ในการจัดการเรียนการสอนเมื่อเปิดภาคเรียนเป็นเพราะครูผู้สอนขาดความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจนในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน รองลงมาคือครูมีภาระงานมาก และไม่มีเวลาเพียงพอตามลาดับ
23
4.5 ปัญหาคุณภาพของกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และหลักสูตรสถานศึกษา พบว่า ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ศึกษาวิเคราะห์เอกสารกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นจานวน 20 เขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งกระจายอยู่ในทุกภูมิภาคของประเทศ และหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรจานวน 21 โรงเรียน ทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และขยายโอกาส ซึ่งเอกสารกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษาส่วนใหญ่มีองค์ประกอบสาคัญครบถ้วน แต่หากพิจารณาคุณภาพของแต่ละองค์ประกอบ พบว่ายังไม่อยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ ยังมีประเด็นที่ไม่ถูกต้องและต้องปรับปรุงแก้ไขหลายประการ อันเป็นผลมาจากการขาดความเข้าใจที่ชัดเจนของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ทาให้ผู้จัดทารายงาน สามารถสรุปได้ว่า การศึกษาของประเทศไทยเริ่มต้นมาจากวัฒนธรรมของคนไทยที่ได้รับการสั่งสอนมาตั้งแต่โบราณ ให้เคารพเชื่อฟังครู อาจารย์ ดังนั้น ครูสมัยก่อนจะดุ และนักเรียนจะเชื่อฟังมาก นักเรียนจะกลัว ไม่กล้าถาม ไม่กล้าตอบ ทาให้ปลูกฝังมาจนถึงปัจจุบัน ยังเป็นระบบที่ฟังจากครูอย่างเดียว ไม่กล้าคิด ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ไม่เป็น ซึ่งการศึกษาไทยเป็นระบบป้อนเข้าอย่างเดียว ไม่มีการแลกเปลี่ยนกัน หรือมีก็น้อยมาก มีการสนใจใฝ่หาความรู้ด้วยตนเองน้อย ทาให้เด็กคิดไม่เป็น วิเคราะห์ไม่เป็น ยิ่งมีการเน้นย้าด้วยการสอบโดยอาศัยความจาเป็นหลักนักเรียนก็จะท่องจาอย่างเดียว รวมถึงสังคมปลูกฝังให้นักเรียนต้องเป็นคนเก่ง ซึ่งนักเรียน ก็จะแข่งกันโดยไม่คิดถึงเรื่องอื่นๆ เมื่อผิดหวังรุนแรงก็ไม่สามารถแก่ปัญหาตนเองได้ แต่ปัจจุบันจะได้พัฒนาและเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนแล้ว เด็กกล้าคิด กล้าทามากขึ้น นับว่าเป็นจุดที่ดีที่จะพัฒนาให้ทัดเทียมประเทศอื่นต่อไป นอกจากนั้นการเรียนการสอนในโรงเรียนก็ไม่มีมาตรฐานเดียวกัน เครื่องมืออุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอนก็แตกต่างกันมาก ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนรัฐบาลด้วยกัน หรือโรงเรียนเอกชน ส่วนต่างจังหวัดนั้นไม่มีอุปกรณ์สื่อการสอนที่มีความพร้อมเท่ากับโรงเรียนในเมือง ทาให้เด็กมีมาตรฐานไม่เหมือนกันอยู่แล้ว และนาเกณฑ์เดียวกันมาวัดทาให้เกิดความล้มเหลวทางการศึกษา และในโรงเรียนก็ไม่ได้สอนเต็มที่เพราะต้องการให้นักเรียนมาเรียนพิเศษอันนามาซึ่งรายได้เพิ่ม สิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาช้าของระบบการศึกษาอีกอย่างหนึ่งคือสถาบันกวดวิชา จะเห็นได้ว่าเป็นที่น่าสนใจมาก มีผู้เรียนเยอะเสียค่าเล่าเรียนแพงมาก แต่ธุรกิจพวกนี้ก็ยังอยู่ได้ แสดงว่ามีคนเรียนมากขึ้นเรื่อยๆ ถ้าหากมีการสอนที่ดีในโรงเรียนแล้วเด็กก็จะไม่ต้องมาเรียนพิเศษมากมายขนาดนั้น16
ผู้จัดทารายงาน จึงสรุปประเด็นสาคัญของปัญหาการบริหารจัดการหลักสูตร คือ
1. ปัญหาครูอาจารย์ ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาของประเทศส่วนใหญ่ ยังขาดความเข้าใจที่แท้จริงว่า การปฏิรูปการศึกษาที่แท้จริงคือการเปลี่ยนแปลงอย่างถึงราก เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นและแตกต่างไปจากเดิม เช่น การเปลี่ยนแปลงวิธีคิด วิธีทางาน ของผู้บริหารการศึกษาและครูอาจารย์ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร
2. ปัญหาการขาดภาวะผู้นาที่ตระหนักถึงรากเหง้าและความสาคัญของปัญหาการปฏิรูปการศึกษา โดยมองปัญหาการศึกษาอย่างเชื่อมโยงกับเรื่องอื่นในสังคมแบบเป็นองค์รวม และรู้จัก
16 อาภรณ์ รัตน์มณี. 2553. _________________________.
24
จัดลาดับความสาคัญเร่งด่วนของปัญหา เพื่อก่อให้เกิดการผลักดันต่อการเปลี่ยนแปลงโดยสามารถปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบได้อย่างแท้จริง
3. ปัญหาระบบคัดเลือก การบริหารและการให้ความดีความชอบครูอาจารย์ ผู้บริหารและ บุคลากรทางการศึกษา อยู่ภายใต้ระบบราชการแบบรวมศูนย์ จึงกลายเป็นอุปสรรคต่อการปฏิรูปทางการศึกษา ซึ่งระบบนี้ทาให้ครูอาจารย์ ผู้บริหารส่วนใหญ่ทางานแค่ตามหน้าที่ไปวันๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งไม่มีการแข่งขัน การตรวจสอบและประเมินผล เพื่อประสิทธิภาพของงานอย่างแท้จริง
4. ปัญหาด้านประสิทธิภาพการใช้งบประมาณการศึกษาในแง่คุณภาพของผู้จบการศึกษา ทุกระดับต่ากว่าหลายประเทศ ทั้งๆที่การจัดสรรงบประมาณการศึกษาของรัฐบาล คิดเป็นสัดส่วนต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ หรือกระทั่งพิจารณาในแง่งบประมาณประจาปีทั้งหมดพบว่าอยู่ในเกณฑ์สูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ตัวอย่างการใช้งบประมาณฯที่ไม่เกิดประสิทธิภาพเช่น นิยมนางบประมาณแค่สร้างอาคาร สถานที่มากกว่าใช้เพื่อวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนสื่อทางการศึกษา
5. ปัญหาระบบการประเมินผลและการสอบแข่งขันเพื่อรับการคัดเลือกเรียนต่อใน มหาวิทยาลัย รวมทั้งการศึกษาระดับอื่นๆ ยังเป็นเพียงการสอบแบบปรนัย เพื่อวัดความสามารถในการจาข้อมูล ซึ่งมีความขัดแย้งกับแนวคิดปฏิรูปการเรียนรู้แบบใหม่ที่เน้นการให้รู้จักคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ได้ เป็นต้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น